Untitled Document
|
|
|
|
เป็นตำราที่นิยมและแพร่หลายกันในปัจจุบันเป็นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน หลาย ๆ ท่าน คงอยากจะ เรียนรู้วิธีการจำค่าตัวอักษร อย่างง่ายๆ โดยมี หลักการ ดังต่อไปนี้ ให้สังเกต ตัวเลข ที่เปรียบเทียบ กับตัวอักษร ดังนี้
ตัวเลข |
|
๑ |
อักษร ก, ด, ท, ถ, ภ, ฤ, / สระ อา, อุ, อำ / วรรณยุกต์ ไม้เอก |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียน เลขหนึ่งไทย (๑) ลักษณะของการเริ่มและสิ้นสุดการเขียนจะเป็น การลากลงมาข้างล่าง |
๒ |
อักษร ข, ช, บ, ป, ง / สระ เอ, แอ, อู / วรรณยุกต์ ไม้โท |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขสองไทย (๒) ลักษณะของการเริ่มจะลากลงก่อนและสิ้นสุดจะเป็นการลากขึ้นข้างบน |
๓ |
อักษร ฆ, ฑ, ฒ, ต, ฃ /วรรณยุกต์ ไม้จัตวา |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขสามไทย (๓) ให้สังเกต ตัวอักษร และหัวของตัวอักษร ค่อนข้างคล้าย เลข ๓ ของอักษร ไทย เป็นอย่างมาก |
๔ |
อักษร ค, ธ, ร, ญ, ษ / สระ โอ,อะ, อิ, ไม้หันกาศ |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขสี่ไทย (๔) สังเกตให้ดี ๆ ให้ดูขั้นตอนสุดท้าย หางของตัวอักษร จะคล้ายเลข ๔ ไทย บางตัวจะมีพิเศษ อย่าง ญ และ ษ ให้สักเกตใส้กลาง ษ หรือตีน ญ จะตวัดขึ้น เหมือนเลข ๔ ที่ตวัดขึ้นเช่นกัน |
๕ |
อักษร ฉ, ณ, ฌ, น, ม, ห, ฮ, ฎ, ฬ / สระ อึ |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขห้าไทย (๕)
วิธีจำง่าย ๆ ดูเลขห้าไทย ๕ จะมีขะหมวดเป็นปม แตกต่างจากเลข ๔ ไทย ให้สักเกตตัวอักษร ที่เป็นขะหมวดเป็นปม แล้วเปรียบเป็นเลข ๕ ก็จะจำง่ายยิ่งขึ้น |
๖ |
อักษร จ, ล, ว, อ, / สระ ใอไม้ม้วน |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขหกไทย (๖) การเขียนเลขหกไทย ๖ จะมีวิธีการเขียน แล้วตวัดไปข้างหน้า ลักษณะของตัวอักษรที่เทียบเป็นค่าเลข ๖ จะเขียนคล้าย ๆ กัน และจะตวัดไปข้างหน้า |
๗ |
อักษร ศ, ส, ซ, / สระ อี, อือ / วรรณยุกต์ ไม้ตรี |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขเจ็กไทย (๗) หางของเลข ๗ จะตวัดขึ้นข้างบน ให้สักเกตตัวอักษรที่เทียบค่าเป็นเลข ๗ ค่อนข้างคล้ายมาก โดยเฉพาะไม้ตรี เหมือนเลข ๗ เลยค่ะ |
๘ |
อักษร ย, พ, ฟ, ผ, ฝ / สระ ไม้ไต่คู้ |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขแปดไทย (๘) วิธีการเขียนเลขแปดไทย ตรงกลางจะมีหยัก ให้สักเกตตัวอักษรเทียบค่าเลข ๘ ตรงกลางก็มีหนึ่งหยัก เช่นกัน โดยเฉพาะไม้ไต่คู้เหมือนเลข๘ เลยค่ะ |
๙ |
อักษร ฏ, ฐ / สระไอ , การันต์ |
|
ให้นึกถึงวิธีการเขียนเลขเก้าไทย (๙) ให้สังเกตจะมีหยักอยู่สองหยัก หรือลักษณะของการัน จะค่อนข้างคล้ายเลขเก้าพอสมควร |
|
|
ตารางเทียบค่าหลักเลขศาสตร์ |
ตัวเลข |
ตัวอักษรภาษาไทย,สระ,และวรรณยุกต์ |
เทียบค่าอักษร อังกฤษ |
๑ |
อักษร ก, ด, ท, ถ, ภ, ฤ, / สระ อา, อุ, อำ / วรรณยุกต์ ไม้เอก |
A, I, J, Q, Y |
๒ |
อักษร ข, ช, บ, ป, ง / สระ เอ, แอ, อู / วรรณยุกต์ ไม้โท |
B, K, R |
๓ |
อักษร ฆ, ฑ, ฒ, ต, ฃ /วรรณยุกต์ ไม้จัตวา |
C, G, L, S |
๔ |
อักษร ค, ธ, ร, ญ, ษ / สระ โอ,อะ, อิ, ไม้หันกาศ |
D, M, T |
๕ |
อักษร ฉ, ณ, ฌ, น, ม, ห, ฮ, ฎ, ฬ / สระ อึ |
E, H, N, X |
๖ |
อักษร จ, ล, ว, อ, / สระ ใอไม้ม้วน |
U, V, W |
๗ |
อักษร ศ, ส, ซ, / สระ อี, อือ / วรรณยุกต์ ไม้ตรี |
O, Z |
๘ |
อักษร ย, พ, ฟ, ผ, ฝ / สระ ไม้ไต่คู้ |
F, P |
๙ |
อักษร ฏ, ฐ / สระไอ , การันต์ |
|
|
|
|
ตัวอย่าง
ชื่อ จิดาภา (อ่านว่า จิ-ดา-พา) ค่าเลขศาสตร์ได้ 14
6+4+1+1+1+1 = 14
ชื่อ บุศรารินทร์ (อ่านว่า บุด-สะ-รา-ริน) ค่าเลขศาสตร์ได้ 42
2+1+7+4+1+4+4+5+1+4+9 = 42
ชื่อ รัชพล (อ่านว่า รัด-ชะ-พน) ค่าเลขศาสตร์ได้ 24
4+4+2+8+6 = 24
พลังเงา, พลังสะท้อน, พลังเงาสะท้อน, พลังอายตนะ, ค่าพลังสะท้อน, ค่าพลังเงา, อายตนะ6, พลังดาวพระเคราะห์, พลังดาว, หลักทักษา |
|
|
|
|
|
|